Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 48 วันที่ 11 - 17 มีนาคม 2562
P. 5

วันที่ ๑๑ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๒                            ข่าวรามคำาแหง                                                              ๕

           เศรษฐศาสตร์ 101                                                       ศักยภาพแพทย์แผนไทย






           คณะเศรษฐศาสตร์                          รศ.อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม        ก้าวไกลสู่สังคมโลก 4.0
           ตอน        แข็งค่าต่อไม่รอแล้วนะ (1)                                        สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย



                                                                                คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง
                                                                                จัดสัมมนาและบรรยายด้านการแพทย์แผนไทย
                  เมื่อต้นเดือนกุมภาฯ  2562 ได้มีนักเศรษฐศาสตร์ชื่อดังหลายท่าน รวมทั้ง
           ทางแบงก์ชาติ ซึ่งมีส่วนดูแลรับผิดชอบค่าเงินบาทด้วย ได้ออกมาแถลงข่าวเรื่อง  เรื่อง “ศักยภาพแพทย์แผนไทยก้าวไกลสู่
           ของค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นมาจนท�าลายสถิติ คือตามข่าวนั้นบอกว่าแข็งค่าที่สุด  สังคมโลก ยุค 4.0” โดยมี รองศาสตราจารย์
           ในรอบ 5 ปีเศษ ๆ หรือจะปัดเป็น 6 ปีก็ได้(นับตั้งแต่ปลายปี 2556) โดยอัตรา  ดร.วรรณา มุสิก คณบดีคณะวิทยาศาสตร์
           แลกเปลี่ยนเมื่อวันที่ 20 กุมภาฯ นั้นอยู่ที่ 31.085 บาทต่อดอลลาร์ และนักกลยุทธ์  เป็นประธาน มี ดร.อัญชลี จูฑะพุทธิ กรรมการ
           ตลาดเงินตลาดทุนเขายังประเมินกันว่าค่าเงินบาทอาจแข็งค่าไปถึง 30.75 บาท  แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

           ต่อดอลลาร์ก็ได้                                                      พลเรือเอกชาญชัย เจริญสุวรรณ นายกสภาการแพทย์แผนไทย
                  ก่อนอื่นเนื่องจากคอลัมน์นี้ชื่อ “เศรษฐศาสตร์ 101” เพราะตั้งใจเขียน  หมอบุณยาพร ยีมี ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทยและ
           ส�าหรับคนที่รู้เศรษฐศาสตร์แบบงูงูปลาปลาเท่านั้น ไม่ใช่ส�าหรับท่านกูรูทาง  ผดุงครรภ์ไทย ร่วมเสวนา และด�าเนินรายการโดย นางสาวสุมาลี
           เศรษฐศาสตร์ ดังนั้นผมจึงขอขยายความเรื่องที่เมื่ออ่านจากโลกโซเชียลแล้ว  ตระกูลพานิชย์กิจ นายกสมาคมพัฒนาการแพทย์แผนไทยแห่งประเทศไทย
           มักจะมีคนถามกันอยู่เสมอก่อนนั่นคือเรื่องที่ว่า ค่าเงินบาทจะแข็งค่าหรืออ่อนค่า  ณ ห้อง 301 อาคารสุโขทัย เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562

           ท�าไมต้องเทียบกับเงินยูเอสดอลลาร์ด้วย ท�าไมไม่เทียบกับค่าเงินประเทศอื่น
           ในฐานะครูบาอาจารย์(เก่า)ซึ่งไม่กลัวว่าพูดมากจะเจ็บคอเพราะเคยอธิบายมา
           หลายครั้งแล้ว ก็จะขอสรุปอีกสักครั้งว่าเป็นเพราะเราท�าธุรกรรมเศรษฐกิจ
           ระหว่างประเทศส่วนใหญ่ด้วยเงินยูเอสดอลลาร์เป็นหลัก การแข็งค่าหรืออ่อนค่า
           เมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นก็จะมีผลเฉพาะกรณีที่เราท�าธุรกรรมทางเศรษฐกิจด้วย
           เงินสกุลนั้น ๆ ซึ่งมีสัดส่วนน้อยกว่าและย่อมมีผลกระทบทางเศรษฐกิจน้อยกว่าด้วย

                  ย้อนกลับมาเรื่องเงินบาทแข็งค่าอีกที นักวิชาการท่านให้สัมภาษณ์ว่า     โอกาสนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณา มุสิก กล่าวว่า การสัมมนา
           สาเหตุที่เงินบาทแข็งค่านั้นก็เพราะประเทศไทยเกินดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่อง  ครั้งนี้มีความหลากหลายในความรู้ทางด้านการแพทย์แผนไทย นับเป็น
           ซึ่งอธิบายง่าย ๆ ว่ากระแสเงินตราต่างประเทศโดยเฉพาะเงินดอลลาร์นั้น    โอกาสดีที่ผู้เข้าร่วมประชุมจะได้แลกเปลี่ยนความรู้ สามารถน�าไปประยุกต์
           ไหลเข้ามากกว่าไหลออก โดยที่การไหลเข้าของเงินตราต่างประเทศ (รวมทั้ง   ใช้ได้อย่างเหมาะสม การสัมมนาครั้งนี้ มีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ทิศทาง
           เงินดอลลาร์) นั้นเป็นผลจากการที่เราส่งออกมาก ทั้งยังได้รายได้จากนักท่องเที่ยว  ในอนาคต การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรไทย รวมทั้งอธิบายความเรื่อง

           และการที่นักลงทุนจากต่างประเทศขนเงินเข้ามาลงทุนทั้งตั้งกิจการผลิตจริง  แพทย์แผนไทยที่ทันสมัย
           และลงทุนในตลาดหุ้นของไทยเป็นจ�านวนมากด้วย ซึ่งก็เป็นเรื่องดี ๆ ที่เรา       “การสัมมนาในวันนี้เป็นสิ่งที่ดีและมีประโยชน์ต่อผู้ฟังอย่างยิ่ง
           อยากให้เกิดขึ้นทั้งนั้น และเนื่องจากการที่ค่าของเงินบาทจะแข็งค่าหรืออ่อนค่านั้น  ขอชื่นชมในการที่ท่านทั้งหลายได้ให้ความสนใจมาร่วมสัมมนาวิชาการ
           เขาดูจากทุนส�ารองหนุนหลังซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศสกุลหลัก เช่น  เป็นจ�านวนมาก แสดงให้เห็นว่าทุกคนได้ให้ความส�าคัญในด้านการแพทย์-
           ดอลลาร์ เมื่อทุนส�ารองเพิ่มขึ้นมาก ๆ ก็ท�าให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นเป็นธรรมดา   แผนไทย หวังว่าท่านทั้งหลายจะน�าความรู้นี้ไปประยุกต์ สู่การปฏิบัติตาม
           เรื่องนี้เป็นผลจากการท�างานของกลไกตลาดที่นักเศรษฐศาสตร์ยุคก่อนเขาเรียกว่า   หน้าที่ของท่าน เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและประโยชน์ต่อประชาชน

           “มือที่มองไม่เห็น”นั่นเอง                                            อย่างกว้างขวาง”
                  ตามทฤษฎีเศรษฐกิจแบบการค้าเสรีซึ่งรัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซงนั้น          การสัมมนาที่จัดขึ้น เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านการแพทย์-
           กลไกตลาดจะคอยควบคุมไม่ให้เศรษฐกิจของชาติใดชาติหนึ่งได้เปรียบหรือ แผนไทย ภูมิปัญญาอีกด้านที่คุ้นหูอย่างการนวด ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของไทย
           เสียเปรียบดุลการค้ามากเกินไป เช่นกรณีของไทยนั้นเมื่อได้เปรียบดุลการค้า ที่โด่งดังไปทั่วโลก แต่ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท�าให้
           มีเงินตราต่างประเทศไหลเข้าประเทศมากก็จะท�าให้เงินบาทแข็งค่า น�าไปสู่ปัญหา ภูมิปัญญาในด้านการแพทย์แผนไทยไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร จึงจัดการ

           ที่สินค้าออกของไทยจะแพงขึ้นในสายตาต่างชาติและสินค้าเข้าจากต่างประเทศ เผยแพร่และรักษาศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยให้เป็นที่รู้จักของสังคมมากขึ้น
           จะถูกลงเมื่อตีค่าเป็นเงินบาท ผลก็คือเราจะส่งออกได้น้อยลงและน�าเข้ามากขึ้น    ดร.อัญชลี จูฑะพุทธิ กล่าวว่า การเข้าสู่ยุค 4.0 ต้องมีการใช้เทคโนโลยี
           ความได้เปรียบดุลการค้าก็จะลดลงหรือหมดไป                              เข้ามาร่วมในการท�างานปรับเปลี่ยนบุคคลให้ทันความก้าวหน้า ในส่วน
                  ในทางกลับกันถ้าไทยเราเป็นฝ่ายขาดดุลการค้า ต้องสูญเสียเงินตรา สมุนไพรไทยต้องสามารถผลิต แปรรูป ให้เป็นที่ยอมรับของโลกให้ได้

           ต่างประเทศออกไปช�าระหนี้จนทุนส�ารอง (ที่ใช้หนุนหลังค่าเงินบาท) ร่อยหรอลง                                                                     (อ่านต่อหน้า 11)
           เงินบาทก็จะอ่อนค่าซึ่งท�าให้สินค้าออกของไทยเมื่อตีค่าเป็นดอลลาร์จะราคาถูกลง
           ในขณะที่สินค้าน�าเข้าเมื่อตีค่าเป็นเงินบาทจะแพงขึ้น ตอนนี้เราก็จะส่งออกได้ อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ซึ่งแปลว่าธนาคารกลางของประเทศจะควบคุมค่าเงิน
           มากขึ้นและน�าเข้าลดลงจนภาวะขาดดุลการค้าบรรเทาลงหรือหมดไปได้ และกลไก ให้เคลื่อนไหวอยู่ภายในกรอบที่ก�าหนดเสมอ โดยกรอบที่ว่านี้เปลี่ยนแปลงได้
           ตลาดจะปรับไปปรับมาจนค่าเงินหรืออัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับเหมาะสมที่สุด ถ้าได้รับความเห็นชอบจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือ IMF และแม้ว่า
           ที่ทางเศรษฐศาสตร์เรียกว่าภาวะ “ดุลยภาพ”                             ประเทศไทยเราจะเลือกใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว (มาจากค�าว่า float)

                  จะเห็นได้ว่าทฤษฎีการค้าเสรีนั้นพยายามอธิบายว่าการปรับตัวของ ซึ่งแปลว่าอัตราแลกเปลี่ยนจะปรับตัวขึ้นลงตามกลไกตลาด แต่การลอยตัวของเรา
           อัตราแลกเปลี่ยนหรือค่าเงินนั้นเป็นเรื่องปกติเพื่อท�าให้ระบบเศรษฐกิจระหว่าง ก็ยังไม่ใช่ลอยตัวเสรี(free float) แต่เป็นลอยตัวแบบมีการจัดการ (managed
           ประเทศเข้าสู่สมดุล แต่จะให้เราเชื่อใจมือที่มองไม่เห็นอย่างที่นักเศรษฐศาสตร์ float) ซึ่งแบงก์ชาติอาจแทรกแซงได้ถ้าจ�าเป็น
           รุ่นแรก ๆ อธิบายไว้คงจะไม่ได้ เพราะกลไกตลาดจะท�างานได้ดีภายใต้เงื่อนไข      สรุปว่าเราคงต้องใจเย็นปล่อยให้แบงก์ชาติดูแลว่าค่าเงินบาทควรอยู่
           เศรษฐกิจเสรีที่รัฐบาลไม่แทรกแซงเท่านั้น ซึ่งสถานการณ์ที่ว่านั้นไม่มีอยู่ใน ตรงไหนจึงจะเหมาะสม แต่จะตัดสินใจอย่างไรผมก็ขอภาวนาว่าอย่าให้เป็นเหมือน
           โลกของความเป็นจริง เพราะปัจจุบันประเทศต่าง ๆ จ�านวนมากยังใช้ระบบ เมื่อปลายปี 2539 เลย...เจ้าประคู้นนน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10