Page 8 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 48 วันที่ 11 - 17 มีนาคม 2562
P. 8

๘                                                    ข่าวรามคำาแหง                                    วันที่ ๑๑ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๒


          อาจารย์เจ้าของบทความดีเด่น                                            ศึกษาดูงาน
           อาจารย์เจ้าของบทความดีเด่น

          เผยแง่มุม ‘สตรีไทยมีบุตรช้าลง’                                        ท่าเรือน�้าลึก
           เผยแง่มุม ‘สตรีไทยมีบุตรช้าลง’

                                                                                 สงขลา



                                                                                       รองศาสตราจารย์ ดร.สมพล ทุ่งหว้า รองอธิการบดีฝ่ายวิทยบริการ
                                                                                จังหวัดสงขลา พร้อมด้วยบุคลากร น�านักศึกษาปริญญาตรี ส่วนภูมิภาคและ

                                                                                นักศึกษาโครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต จังหวัดสงขลา ศึกษาดูงาน
                                                                                ท่าเรือน�้าลึกสงขลา ณ บริษัท เจ้าพระยาท่าเรือสากล จ�ากัด ท่าเทียบเรือ
                                                                                สงขลา อ�าเภอเมือง จังหวัดสงขลา และร่วมสัมมนา เรื่อง “สงขลาจะไปสู่
                                                                                เมืองมรดกโลก ได้จริงหรือ?” โดยมี อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข สมาคมภาคี

                                                                                คนรักสงขลา เป็นวิทยากร ณ โรงสีแดง ด้วย เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา
                                                                                       โอกาสนี้ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข สมาคมภาคีคนรักสงขลา กล่าวถึง
                  อาจารย์รามฯ คว้ารางวัลบทความดีเด่น ด้านอนามัยเจริญพันธุ์      ประวัติความเป็นมาของเมืองสงขลา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองสองทะเล
           ในการประชุมประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2561 จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย       จากอดีตถึงปัจจุบัน และได้อธิบายถึงเอกลักษณ์ความโดดเด่นในแง่

           เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายนที่ผ่านมา เผยแง่มุมน่าสนใจเกี่ยวกับคุณแม่    ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการอาศัยอยู่ร่วมกันของ 3 ศาสนา
           วัยกลางคนกับความเสี่ยงของลูก และภาวะการมีบุตรช้าลงของสังคม           คือ ศาสนาพุทธ จีนและมุสลิม ที่สะท้อนออกมาในรูปแบบของสถาปัตยกรรม

           ปัจจุบัน                                                             โบราณ ทั้งอาคารแบบเรือนแถวทรงไทย เรือนแถวแบบจีน เรือนแถวแบบ
                  อาจารย์ฐิตินันทน์ ผิวนิล อาจารย์ประจ�าภาควิชาสังคมวิทยาและ    ชิโน-โปรตุกีส ตลอดจนได้เยี่ยมชมมัสยิดอุสสาสนอิสลาม (มัสยิดบ้านบน)
           มานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ เจ้าของบทความเรื่อง “คุณภาพการเกิด        ศาลเจ้าหลักเมืองและวัดมัชฌิมาวาส ที่ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่า ซึ่งสามารถ

           ของบุตรจากสตรีไทยวัยเจริญพันธุ์อายุ 35-49 ปี ที่คลอดในปี พ.ศ.2560”   ด�าเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้ในรูปแบบของพหุวัฒนธรรม
           กล่าวถึงการประชุมประชากรศาสตร์แห่งชาติว่าเป็นการรวมตัวของนักประชากร         จากนั้น รองศาสตราจารย์ ดร.สมพล ทุ่งหว้า รองอธิการบดี
           จากทั่วประเทศ มุ่งเน้นศึกษาภาวะการเกิด การเจริญพันธุ์ การตาย และ     ฝ่ายวิทยบริการจังหวัดสงขลา ได้มอบเกียรติบัตรให้กับนักศึกษาปริญญาตรี

           การย้ายถิ่น เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันโครงสร้างทางประชากรศาสตร์มีความ      ส่วนภูมิภาค ในครั้งนี้ด้วย
           เปลี่ยนแปลงมาก กระแสการวิจัยให้ความสนใจกับกลุ่มผู้สูงอายุ ขณะที่
           เด็กเกิดใหม่ก็มีจ�านวนน้อยลง                                          การตรวจราชการกรณีปกติ ของส่วนราชการ

                  “ผมสนใจศึกษาด้านประชากรศาสตร์มาโดยตลอด กระแสข่าวในสังคม        กระทรวงศึกษาธิการ จังหวัดหนองบัวล�าภู
           พูดถึงประเด็นปัญหาที่สถาบันการศึกษาต่างๆ เริ่มมีเด็กเข้าเรียนน้อยลง

           เมื่อสืบค้นข้อมูลจากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่า คนอยู่เป็นโสดมากขึ้น แต่งงาน
           ช้าลง และนิยมมีลูกน้อยลง เปรียบเทียบกับคนรุ่นเราที่มักจะมีพี่น้อง ขณะที่
           เด็กรุ่นใหม่เป็นลูกโทน ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุของ

           แม่กับการส่งผลกระทบต่อความสมบูรณ์ของลูก เป็นประเด็นปัญหาที่ผู้หญิง
           หลายคนค่อนข้างกังวล”

                  อาจารย์นักประชากรศาสตร์ กล่าวต่อไปว่า งานวิจัยของผมไม่ได้ศึกษา
           ทางการแพทย์โดยตรง แต่ศึกษาด้านสังคมเป็นหลัก โดยรวบรวมข้อมูลจาก              นางสาววัลเพ็ญ มีล้อม หัวหน้าส�านักงานสาขาวิทยบริการจังหวัด
           สูติบัตรของเด็กในกลุ่มคุณแม่อายุระหว่าง 35-49 ปี (ข้อมูลปี 2560)  หนองบัวล�าภู พร้อมคณะเจ้าหน้าที่สาขาวิทยบริการจังหวัดหนองบัวล�าภู

           เก็บรวบรวมโดยกระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์จากน�้าหนักตัวของเด็กแรกเกิด  ร่วมต้อนรับ นางสาวดุริยา อมตวิรัตน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง
           ซึ่งน�้าหนักแรกเกิดตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลกคือ 2,500 กรัม  ศึกษาธิการ เขตตรวจราชการที่ 10 โอกาสนี้ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง
           หากต�่ากว่านี้จะเป็นเด็กกลุ่มเสี่ยงภาวะต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต  สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดหนองบัวล�าภู ในฐานะสถานศึกษา

                  “จากการวิเคราะห์ พบว่าอายุของคุณแม่มีผลกระทบต่อน�้าหนัก       สังกัดกระทรวงศึกษา ในจังหวัดหนองบัวล�าภู ได้น�าเสนอ ผลการด�าเนินงาน
           ของลูก ยิ่งคุณแม่อายุมากขึ้น ทารกจะมีโอกาสน�้าหนักตัวผิดปกติมากขึ้น  เพื่อให้การด�าเนินงานของมหาวิทยาลัย เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล
           ซึ่งเป็นผลการวิจัยที่สอดคล้องกับข้อมูลการศึกษาทางการแพทย์ที่ยิ่งคุณแม่  และกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 ณ โรงเรียน

           มีอายุมาก ลูกก็ยิ่งมีความเสี่ยงมาก”                                  เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ หนองบัวล�าภู ในพระราชูปถัมภ์
                  ส�าหรับรางวัลบทความดีเด่นครั้งนี้ อาจารย์ฐิตินันทน์ เผยว่าดีใจที่  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

           ได้รับรางวัล งานวิจัยชิ้นนี้ถือเป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นส�าหรับการศึกษาต่อยอด  สภาวะต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นอีกทางเลือกส�าหรับผู้หญิงที่
           ในเชิงลึกต่อไปในอนาคต โดยคาดหวังให้สังคมเห็นสถานการณ์ด้านประชากรศาสตร์  อายุมากแต่ยังไม่เกินเกณฑ์ในการมีลูก โดยเน้นย�้าให้มีการดูแลตัวเองที่ดีด้วย
           ที่ชัดเจนมากขึ้น กระตุ้นให้คนมีลูกในช่วงวัยที่เหมาะสม และมีความพร้อม       “ในอนาคตตั้งใจจะศึกษาวิจัยลงลึกมากกว่านี้ เพราะยังมีอีกหลากหลาย

           ในการเลี้ยงดู รวมถึงการเชื่อมโยงสู่นโยบายของรัฐบาลในการดูแลคุณภาพ   ประเด็นที่น่าสนใจ เช่น ความแตกต่างระหว่างวัยของแม่กับลูกที่อาจ
           ชีวิตของประชาชน เกิดความตระหนักร่วมกันในการแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นเหตุ  ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงดู อายุของคุณพ่อที่อาจเป็นอีกหนึ่งปัจจัย

            ซึ่งแท้จริงแล้วคนส่วนมากอยากแต่งงาน มีลูก และมีครอบครัวที่สมบูรณ์  ในการส่งผลกระทบต่อความสมบูรณ์ของทารก เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนสะท้อน
                  อย่างไรก็ตาม อาจารย์ฐิตินันทน์ ฝากทิ้งท้ายอีกว่าการมีลูก     สถานการณ์ต่างๆ ในสังคม ที่ผมจะพยายามศึกษาต่อไปเรื่อยๆ ให้ลึกขึ้น
           ตอนอายุมากอาจไม่ได้มีความเสี่ยงมากเสมอไป เพราะปัจจุบันเทคโนโลยี     กว่าเดิม และน�าประสบการณ์ สิ่งใหม่ๆ ที่ได้ค้นพบมาถ่ายทอดให้กับ

           ทางการแพทย์มีความก้าวหน้ามากขึ้น มีกระบวนการแก้ไขปัญหาและรองรับ นักศึกษาต่อไป”
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12